ไขมันสูง

แมกนีเซียม (Magnesium) : มีประโยชน์ยังไง ใครบ้างเสี่ยงต่อการขาดแมกนีเซียม?

แมกนีเซียมสำคัญในการเจริญและเสริมสร้างกระดูก การทำงานของเซลล์ประสาทและกล้ามเนื้อ คนที่เสี่ยงต่อการขาด เช่น หญิงสูงอายุ หรือ มีโรคเบาหวาน ความดัน ไขมันสูง

แอลคาร์นิทีน (L-carnitine)

แอลคาร์นิทีน คือ อนุพันธ์ของกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง ร่างกายสามารถผลิตเองได้ และได้รับจากอาหารพวกเนื้อสัตว์ ผู้ที่อาจมีระดับ แอลคาร์นิทีน ต่ำกว่าคนทั่วไป เช่น

ยีสต์แดง (Red yeast rice)

ยีสต์แดง (Red yeast rice) คือ การนำข้าวมาหมักด้วยยีสต์ชนิดหนึ่งที่ชื่อ Monascus purpureus มีการนำมาใช้ในเรื่องการลดไขมันในเส้นเลือด ปรับสมดุลลำไส้

Flaxseed (เมล็ดแฟลกซ์) : คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ? เหมาะกับใครบ้าง ?

เมล็ดแฟลกซ์ (Flaxseed) หรือเมล็ดดลินิน อุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร และ กรดไขมันโอเมก้า3 การกินก่อนอาหารอาจช่วยให้รู้สึกหิวน้อยลง และกินน้อยลงได้

งานวิจัยใหม่พบว่า ‘น้ำตาล’ อาจจะแย่กว่า ‘ไขมัน’ ?

เมื่อปลายเดือนที่แล้วนี้ มีงานประชุมของหมอโรคหัวใจยุโรป ESC 2017 ซึ่งมีการนำงานวิจัยที่ใหญ่มากๆงานหนึ่งที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ชื่อดังมานำเสนอ

น้ำเกรพฟรุ้ต ห้ามกินกับยาอะไรบ้าง ?

น้ำเกรพฟรุ้ตเป็นอาหารที่มีประโยชน์มากๆ แต่หากมีโรคประจำตัวที่ต้องกินยาบางอย่าง เช่น ไขมันสูง ความดันสูง ภูมิแพ้ น้ำเกรพฟรุ้ตนี้อาจเป็นอันตรายได้

“ปลาดิบ”ไหน ? สุขภาพดีกว่ากัน “แซลมอน Vs ทูน่า”

สวัสดีฮะ เพื่อนๆคงเคยสงสัยเหมือนผมว่า คนรักสุขภาพแบบเราๆ เวลาไปร้านอาหารญี่ปุ่น จะเลือกกินปลาดิบอะไรดี แซลมอน หรือ ทูน่าจะเฮลตี้กว่ากันนะ ? วันนี้ผมจะมาตอบคำถามที่เพื่อนๆเคยสงสัยให้ฟังครับ ^^

‘ไขมัน’ ตัวไหนร้ายที่สุด ?

คราวก่อนผมได้พูดถึงคอเลสเตอรอล ว่าอาจจะไม่ได้เป็นตัวร้ายอย่างที่เราเชื่อกันมา คราวนี้ผมจะมาเรียงลำดับให้ดูกันง่ายๆว่า สรุปแล้วไขมันตัวไหนควรหลีกเลี่ยงที่สุด

เราไม่ควรกิน ‘ไข่แดง’ จริงหรือ ?

แนวปฏิบัติในการกินอาหารของสหรัฐอเมริกา (U.S. dietary guideline) ปกติจะมีการปรับปรุงทุกๆ 5 ปี โดยฉบับล่าสุดที่ออกเมื่อปลายปี 2015 ได้มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจมากๆอย่างหนึ่ง คือเรื่อง ‘คอเลสเตอรอล’

แอสตาแซนธิน หรือ สาหร่ายแดง : ดีอย่างไร ? ช่วยลดริ้วรอยจริงหรือ ?

แอสต้าแซนทิน คือเม็ดสีชนิดหนึ่งอยู่ในกลุ่มแคโรทีนอยด์มีสีชมพู หรือแดง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในสาหร่ายสีแดงชนิด Haematococcus pluvialis

น้ำมันปลา (Fish Oil, Omega-3)

น้ำมันปลา มีฤทธิ์ลดการอักเสบ ช่วยป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัวง่าย พบว่าน้ำมันปลามีประโยชน์มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับโรคหัวใจและหลอดเลือด ไขมันโลหิตสูง

น้ำมันรำข้าว (Rice Bran Oil)

น้ำมันรำข้าว มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยในระบบต่างๆ เช่น หัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน ความดัน ไขมัน คอเลสเตอรอลสูง ระบบทางเดินอาหาร ป้องกันแผลในกระเพาะอาหาร

ชาเขียว (Green Tea)

ชาเขียว มีสารคาเทชิน (Catechins) ซึ่งช่วยในการป้องกันการอักเสบ ลดบวม ช่วยปกป้องกระดูกอ่อนที่เป็นตัวรองรับแรงกระแทกระหว่างกระดูก และ ลดการเกิดข้อเสื่อม

มะขามป้อม (Amla)

มะขามป้อม เป็นสมุนไพรที่ใช้ในอายุรเวท (การแพทย์ของอินเดีย) มักใช้ในการลดระดับน้ำตาลในเลือด ช่วยเรื่องระบบหัวใจและหลอดเลือด และอาจช่วยบำรุงระบบประสาท

เห็ดหลินจือ (Lingzhi)

เห็ดหลินจือ เป็นเห็ดชนิดหนึ่ง ที่มีการนำเอาดอกเห็ด ราก หรือ สปอร์มาใช้เป็นยาสมุนไพร มักมีการนำมาใช้ในการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน บำรุงร่างกาย บำรุงปอด

ตรีผลา (Triphala)

ตรีผลา เป็นตำรับยาอายุรเวท ประกอบด้วย มะขามป้อม สมอพิเภก และ สมอไทย โดยทั่วไปตรีผลามีที่ใช้ในการลดระดับไขมันในเลือด หรืออาการโรคทางเดินอาหารต่างๆ

วิตามินดี (Vitamin D) : มีประโยชน์อย่างไร ? ใครควรได้รับวิตามินดีเสริมบ้าง ?

วิตามินดี ช่วยในการรักษาสมดุลของ แคลเซียม ฟอสฟอรัสในร่างกาย ป้องกันกระดูกพรุน ปัจจุบันพบว่า การขาดวิตามินดีอาจเกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน

ไขมันโลหิตสูง (High LDL cholesterol)

ระดับไขมันโลหิตที่ถือว่าสูงในแต่ละคนค่าไม่เท่ากัน ใครมีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจสูงก็จะต้องรีบควบคุมไขมันให้ต่ำกว่าคนอื่นๆ คนทั่วไป LDLไม่ควรสูงเกิน 190 mg/dL