อาหารเสริม

แอลคาร์นิทีน (L-carnitine)

แอลคาร์นิทีน คือ อนุพันธ์ของกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง ร่างกายสามารถผลิตเองได้ และได้รับจากอาหารพวกเนื้อสัตว์ ผู้ที่อาจมีระดับ แอลคาร์นิทีน ต่ำกว่าคนทั่วไป เช่น

5 เทคนิคการเลือกซื้อวิตามินซี – Vitamin C แบบไหนดีที่สุด ?

ควรกินวิตามินซีปริมาณเท่าใดต่อวัน ? วิตามินซีธรรมชาติ และ สังเคราะห์อะไรดีกว่ากัน ? จำเป็นต้องเลือก Slow-released ไหม ? ฟลาวานอยด์ช่วยในการดูดซึมจริงไหม ?

ยีสต์แดง (Red yeast rice)

ยีสต์แดง (Red yeast rice) คือ การนำข้าวมาหมักด้วยยีสต์ชนิดหนึ่งที่ชื่อ Monascus purpureus มีการนำมาใช้ในเรื่องการลดไขมันในเส้นเลือด ปรับสมดุลลำไส้

Flaxseed (เมล็ดแฟลกซ์) : คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ? เหมาะกับใครบ้าง ?

เมล็ดแฟลกซ์ (Flaxseed) หรือเมล็ดดลินิน อุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร และ กรดไขมันโอเมก้า3 การกินก่อนอาหารอาจช่วยให้รู้สึกหิวน้อยลง และกินน้อยลงได้

แอปเปิ้ลไซเดอร์ (Apple cider vinegar)

แอปเปิ้ลไซเดอร์ หรือ น้ำส้มสายชูหมักจากแอปเปิ้ล คือ การนำน้ำคั้นจากแอปเปิ้ลมาหมัก น้ำส้มสายชูหมักจากแอปเปิ้ลมีวิตามินซี วิตามินบี ไบโอติน โฟลิค แร่ธาตุต่างๆ

โฟลิค (Folic acid) : คืออะไร ? มีประโยชน์อย่างไร ? ใครควรกินเสริมบ้าง ?

โฟเลท หรือ กรดโฟลิค เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วิตามิน B9 สามารถละลายน้ำได้ โฟลิคพบในอาหารเช่น ผักใบเขียว ช่วยในการสร้างเซลล์ต่างๆ เช่น เซลล์เม็ดเลือด ระบบประสาท

นมผึ้ง (Royal jelly)

นมผึ้ง คือของเหลวที่ผลิตโดยผึ้งงาน ที่นำมาใช้ในการเลี้ยงนางพญาผึ้ง มักถูกใช้ในอาการนอนไม่หลับ
หมดประจำเดือน โรคกระเพาะ โรคผิวหนัง หรือ ไขมันสูง

วิตามินบี12 (Vitamin B12) : เมื่อขาดจะมีอาการอย่างไร ? ใครควรทานเสริมบ้าง ?

วิตามินบี12 เป็นวิตามินที่จำเป็นต่อร่างกาย พบได้ในอาหารเนื้อสัตว์ ปลา นม ไข่ ช่วยในการพัฒนาสมอง ปลายประสาท และเม็ดเลือด คนที่เสี่ยงในการขาดวิตามินบี12 เช่น

โคเอนไซม์คิว10 (coQ10) : มีประโยชน์อย่างไร ? ใครควรกินเสริมบ้าง ?

โคเอนไซม์ คิว10 หรือ CoQ10 เป็นสารคล้ายวิตามิน พบมากในหัวใจ ตับ ไต มีส่วนช่วยในโรคหัวใจ ไมเกรน รวมถึงคนที่กินยาโรคประจำตัวเช่น เบาหวานความดัน อาจขาดCoQ10ได้

คอลลาเจน (Collagen)

คอลลาเจน เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่พบในผิวหนัง เส้นเอ็น กระดูกอ่อน หมอนรองกระดูก กระดูก เส้นผม ผนังหลอดเลือดและทางเดินอาหาร ของคนเรา หรือ สัตว์ต่างๆ

เรสเวอราทรอล (Resveratrol)

เรสเวอราทรอล คือ สารโพลีฟีนอล ซึ่งเป็นต้านอนุมูลอิสระชนิดหนึ่ง พบมากในผิวองุ่น นอกจากนี้ยังพบได้ในเบอร์รี่ ถั่วพีนัท ช่วยชะลอวัย บำรุงหัวใจและหลอดเลือด

แอสตาแซนธิน หรือ สาหร่ายแดง : ดีอย่างไร ? ช่วยลดริ้วรอยจริงหรือ ?

แอสต้าแซนทิน คือเม็ดสีชนิดหนึ่งอยู่ในกลุ่มแคโรทีนอยด์มีสีชมพู หรือแดง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในสาหร่ายสีแดงชนิด Haematococcus pluvialis

วิตามินซี (Vitamin C) : มีประโยชน์กับใครบ้าง ? ช่วยเรื่องสุขภาพผิวจริงหรือไม่ ?

วิตามินซี เป็นวิตามินละลายในน้ำ ร่างกายไม่สามารถผลิตเองได้ พบมากในผักผลไม้ โดยเฉพาะผลไม้รสเปรี้ยว ช่วยในกระบวนการต่างๆ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ลดการอักเสบ

วิตามินบีรวม (Vitamin B complex) : มีประโยชน์อย่างไร ? ใครควรกินเสริมบ้าง ?

วิตามินบีรวม ประกอบด้วยวิตามินบี1,6,12 เป็นส่วนใหญ่ เป็นวิตามินละลายในน้ำ มีส่วนช่วยร่างกายในการสร้างเม็ดเลือด หัวใจ สมองและระบบประสาท

น้ำมันปลา (Fish Oil, Omega-3)

น้ำมันปลา มีฤทธิ์ลดการอักเสบ ช่วยป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัวง่าย พบว่าน้ำมันปลามีประโยชน์มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับโรคหัวใจและหลอดเลือด ไขมันโลหิตสูง

วิตามินเอ (Vitamin A) : ช่วยเรื่องสายตาจริงไหม ? จำเป็นต้องกินเสริมหรือไม่ ?

วิตามินเอ เป็นวิตามินละลายในไขมัน แบ่งหลักๆเป็น 2 ชนิดคือ เรตินอยด์ พบในผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น เนื้อสัตว์ อีกชนิดหนึ่ง คือ เบต้าแคโรทีน พบในพืชผัก ผลไม้

โครเมียม (Chromium) : ช่วยอย่างไรในโรคเบาหวาน และ ไขมันสูง ?

โครเมียม เป็นแร่ธาตุที่พบในร่างกาย ช่วยในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตและไขมัน โครเมียมพบในอาหาร เช่น เนื้อสัตว์ ธัญพืชไม่ขัดสี เครื่องเทศ มัน ผัก และ ผลไม้สด

กลูโคซามีน (Glucosamine)

กลูโคซามีน เป็นสารชนิดหนึ่งที่พบในร่างกายบริเวณข้อต่อต่างๆ โดยร่างกายนำไปใช้ในการผลิตเอ็น กระดูกอ่อน และ น้ำหล่อเลี้ยงข้อ พบว่าช่วยลดอาการปวดข้อ ข้อเสื่อม

น้ำมันรำข้าว (Rice Bran Oil)

น้ำมันรำข้าว มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยในระบบต่างๆ เช่น หัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน ความดัน ไขมัน คอเลสเตอรอลสูง ระบบทางเดินอาหาร ป้องกันแผลในกระเพาะอาหาร

งา, งาดำ (Sesame, Black Sesame)

งาเป็นแหล่งรวมของโปรตีน วิตามิน และสารที่มีประโยชน์ต่างๆ พบว่า สารเซซามิน (sesamin) ในงาช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ และ ต้านอนุมูลอิสระ

ชาเขียว (Green Tea)

ชาเขียว มีสารคาเทชิน (Catechins) ซึ่งช่วยในการป้องกันการอักเสบ ลดบวม ช่วยปกป้องกระดูกอ่อนที่เป็นตัวรองรับแรงกระแทกระหว่างกระดูก และ ลดการเกิดข้อเสื่อม

1 2 3